หน้าแรก การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี

การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี

คำสั่ง break, continue และ exit()

ในภาษา C ยังมีคำสั่งอีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาจจะไม่ได้ใช้สำหรับควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรมโดยตรง แต่คำสั่งเหล่านี้มักถูกนำไปใช้ร่วมกับคำสั่งอื่นๆ อยู่เสมอ คำสั่ง break           คำสั่ง break เป็นคำสั่งที่ให้โปรแกรมออกจาก loop ทันที โดยไม่ทำคำสั่งที่เหลือต่อ ซึ่งคำสั่ง break นี้ สามารถใช้ได้กับ loop หลาย ๆ loop ไม่ว่าจะเป็น while, do...

คำสั่ง while, do-while และ for

การควบคุมทิศทางแบบวนรอบ หรือที่เรียกว่าการทำงานแบบวนลูป (Loop) นั้นคือการที่เราเขียนโปรแกรมให้วนรอบทำงานซ้ำคำสั่งเดิม โดยมีการกำหนดเงื่อนไขเพื่อให้โปรแกรมวนรอบทำงาน คำสั่งในภาษา C ที่ใช้สำหรับควบคุมการวนรอบคือ while, do-while และ for ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ คำสั่ง while           การทำซ้ำด้วยคำสั่ง while เป็นคำสั่งทำซ้ำแบบหนึ่งในภาษา C ที่นิยมใช้ในกรณีที่ใช้ตรวจสอบเงื่อนไขว่าเป็นจริงก็จะทำซ้ำ แต่ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จก็จะหลุดออกจาการทำซ้ำ ซึ่งเงื่อนไขที่ตรวจสอบนี้อาจจะใช้ในกรณีที่รู้จำนวนรอบแน่นอน เช่น ตั้งแต่ X=1 ถึง X=10 หรือไม่รู้จำนวนรอบแน่นอน เช่น...

คำสั่ง if และ switch

คำสั่งทดสอบเงื่อนไขเพื่อการตัดสินใจ (Decision statements) คำสั่งทดสอบเงื่อนไขเพื่อการตัดสินใจ  เป็นคำสั่งที่มีการทดสอบเงื่อนไขก่อนที่จะทำงานตามคำสั่งที่กำหนดไว้  ซึ่งได้แก่คำสั่ง  if, if else, โครงสร้าง  else  if  (หรือ  nested  if)  และคำสั่ง  switch คำสั่ง if คำสั่ง if เป็นคำสั่งในการควบคุมการทำงานของโปรแกรมที่เป็นพื้นฐานที่สุด โดยมีการตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อจะตัดสินว่าจะทำสิ่งที่กำหนดหรือไม่ การใช้คำสั่ง if มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ if (เงื่อนไข)...

คำสั่งรับข้อมูล

                ในการเขียนโปรแกรมบางครั้งต้องมีการรับข้อมูลจากผู้ใช้เข้ามาในโปรแกรม เช่น เลือกรายการตัวเลือก เพื่อนำข้อมูลนั้นๆ มาประมวลผลในโปรแกรม ซึ่งส่วนใหญ่ผู้เขียนโปรแกรมมักจะกำหนดให้ผู้ใช้กรอกข้อมูลเข้ามาทางคีย์บอร์ด รับข้อมูลจากคีย์บอร์ดด้วย scanf( )           การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดสามารถทำได้โดยการเรียกใช้คำสั่ง scanf ( ) ซึ่งเป็นฟังก์ชั่นมาตรฐานใช้สำหรับรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด รูปแบบการเรียกใช้งานมีดังนี้ scanf (“format” , &variable);

แสดงผลด้วยคำสั่ง putchar() และ puts()

แสดงผลทีละอักขระด้วย putchar()           การแสดงผลอักขระออกทางหน้าจอนอกจากจะเรียกใช้คำสั่ง printf() แล้วเรายังสามารถใช้คำสั่ง putchar() ซึ่งใช้สำหรับแสดงผลอักขระโดยเฉพาะไว้ให้เรียกใช้งานอีกด้วย โดยรูปแบบการเรียกใช้ฟังก์ชัน putchar() สามารถทำได้ดังนี้ putchar(char);           char: เป็นตัวแปลชนิด char หรืออักขระที่เขียนภายในเครื่องหมาย ‘ ’ ตัวอย่าง

แสดงผลด้วยคำสั่ง printf()

แสดงผลออกทางหน้าจอ           การทำงานพื้นฐานที่สึดหรือเรียกได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งในการทำงานของทุกโปรแกรมคือ  การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ  โดยในภาษา C นั้น การแสดงผลข้อมูลออกทางจอสามารถทำได้ดังนี้ คำสั่ง printf()           คำสั่ง printf ถือว่าเป็นคำสั่งพื้นฐานที่สุดในการแสดงผลข้อมูลทุกชนิดออกทางหน้าจอ ไม่ว่าจะเป็นจำนวนเต็ม( int ) , ทศนิยม (...

นิพจน์

นิพจน์คืออะไร           นิพจน์คือ การนำข้อมูลซึ่งอาจอยู่ในรูปค่าคงที่หรือตัวแปรมาดำเนินการโดยใช้เครื่องหมายต่างๆ เป็นตัวสั่งงาน สำหรับนิพจน์ที่เราพบเห็นกันทั่วไป เช่น 5 + 3 = 8 หรือ b2 – 4ab การเขียนนิพจน์ในภาษาซี           นิพจน์ในภาษาซีคือ การนำข้อมูลหรือตัวแปรในภาษาซี มาดำเนินการโดยใช้เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ ตรรกศาสตร์ หรือเครื่องหมายเปรียบเทียบที่มีความหมายในภาษาซีเป็นตัวสั่งงาน

เครื่องหมายการคำนวณ

เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษา C           การดำเนินการในการเขียนโปรแกรมภาษา C มีอยู่ 3 ประเภท คือ การคำนวณทางคณิตศาสตร์ การเปรียบเทียบ และการดำเนินการทางตรรกศาสตร์ ซึ่งการดำเนินการแต่ละประเภทจะมีเครื่องหมายที่ต้องใช้เพื่อเขียนคำสั่งสำหรับการดำเนินการประเภทนั้นๆ ดังรายละเอียด เครื่องหมายการคำนวณทางคณิตศาสตร์           การดำเนินการพื้นฐานที่สุดทั้งในชีวิตประจำวันและในการเขียนโปรแกรมคือ การคำนวณทางคณิตศาสตร์ โดยเครื่องหมายที่ใช้สำหรับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ใช้ภาษา C สรุปดังนี้

การประกาศตัวแปร

รูปแบบในการประกาศตัวแปรในภาษา C           การสร้าวตัวแปรขึ้นมาใช้งานจะเรียกว่า  การประกาศตัวแปร (Variable Declaration) โดยเขียนคำสั่งให้ถูกต้องตามแบบการประกาศตัวแปร แสดงดังนี้ type variable; type:  ชนิดของตัวแปร variable: ชื่อของตัวแปร  ซึ่งต้องตั้งให้ถูกต้องตามหลักของภาษา C

ความหมายของข้อมูล

ชนิดของข้อมูลในภาษาซี           ข้อมูลที่มีความหมายและใช้งานกันในภาษาซี สามารถแบ่งได้เป็น 6 ชนิดคือตัวเลขจำนวนเต็ม integer, ตัวเลขทศนิยม float, เลขฐานแปด octal, เลขฐานสิบหก hexadecimal, อักขระ character และข้อความ string ซึ่งความหมายของข้อมูลแต่ละชนิด แสดงรายละเอียดได้ดังนี้           1. ตัวเลขจำนวนเต็ม integer ตัวเลขจำนวนเต็มทั่วๆ ไป ได้แก่ จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มศูนย์และจำนวนเต็มลบ เช่น 11, 2750,...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า